" สุดยอดบัณฑิตนักเทคโนโลยีนวัตกรรมดิจิทัลผู้เชี่ยวชาญการประยุกต์พื้นฐานงานวิศวกรรม สร้างสรรค์งานต้นแบบและสิ่งประดิษฐ์ใหม่ ๆ ด้วยอุปกรณ์ไฮเทคคุณภาพสูง "
หลักสูตรเทคโนโลยีบัณฑิต สาขาวิชานวัตกรรมดิจิทัล เป็นหลักสูตรที่เน้นการฝึกปฏิบัติ สร้างประสบการณ์ สร้างสรรค์ ด้วยการฝึกทดลองทำ โดยวางรากฐานองค์ความรู้เกี่ยวกับ ช่างไฟฟ้า อิเล็กทรอนิกส์ งานโลหะ เทคนิคกลไกที่เชื่อมโยงกับระบบควบคุมอัตโนมัติ ไมโครคอนโทรลเลอร์ อินเทอร์เน็ตประสานสรรพสิ่ง (IoT) ในระดับที่นำไปประยุกต์ใช้งานประดิษฐ์สินค้าต้นฉบับตลอดจนปลูกฝังการเป็นเจ้าของกิจการ หรือทำงานในชุมชน
เรียนจบแล้วทำงานอะไร ?
1) นักพัฒนานวัตกรรมดิจิทัล (Digital Innovative Developer)
2) เจ้าหน้าที่วิจัยและพัฒนาผลิตภัณฑ์อิเล็กทรอนิกส์ (Electronic product research and development officer)
3) นักวิจัยและพัฒนาฮาร์ดแวร์ แผงวงจรอิเล็กทรอนิกส์และการออกแบบประดิษฐภัณฑ์ (R&D Electronics Hardware & PCB design)
4) นักพัฒนาซอฟต์แวร์ประยุกต์นวัตกรรมดิจิทัล (Digital Innovation Programmer)
5) วิศวกรฝ่ายขายผลิตภัณฑ์ ในหน่วยงานเอกชน (Product Sales Engineer)
6) นักพัฒนาแอปพลิเคชันและอินเทอร์เน็ตประสานสรรพสิ่ง (Mobile Application and IOT Consultant)
7) เจ้าหน้าที่ระบบงานคอมพิวเตอร์ (IT Support)
8) งานอิสระ (Freelance) ตามความถนัดและความสามารถทางด้านนวัตกรรมดิจิทัลของตัวเอง
9) เจ้าของธุรกิจวิสาหกิจเริ่มต้น ระบบควบคุมแบบสมาร์ท (Startup Smart-Control System)
ชื่อเต็ม
เทคโนโลยีบัณฑิต (นวัตกรรมดิจิทัล)
ชื่อย่อ
ทล.บ. (นวัตกรรมดิจิทัล)
ภาควิชาคอมพิวเตอร์
Department of Computer
คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
Faculty of Science and Technology
มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่
Chiang Mai Rajabhat University
1) อิเล็กทรอนิกส์สำหรับนวัตกร
2) ไฟฟ้ากำลังและเครื่องกลไฟฟ้า
3) วิศวกรรมเมคคาทรอนิกส์
4) อินเทอร์เน็ตประสานสรรพสิ่งสำหรับนวัตกร
5) ผู้ประกอบการในโลกดิจิทัล
8000 บาท / เทอม
คณาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร ทล.บ. (นวัตกรรมดิจิทัล)
สาขาวิชา นวัตกรรมดิจิทัล
หลักสูตรเทคโนโลยีบัณฑิต สาขาวิชานวัตกรรมดิจิทัล เป็นหลักสูตรที่เน้นการฝึกปฏิบัติ สร้างประสบการณ์ สร้างสรรค์ ด้วยการฝึกทดลองทำ โดยวางรากฐานองค์ความรู้เกี่ยวกับ ช่างไฟฟ้า อิเล็กทรอนิกส์ งานโลหะ เทคนิคกลไกที่เชื่อมโยงกับระบบควบคุมอัตโนมัติ ไมโครคอนโทรลเลอร์ อินเทอร์เน็ตประสานสรรพสิ่ง (IoT) ในระดับที่นำไปประยุกต์ใช้งานประดิษฐ์สินค้าต้นฉบับตลอดจนปลูกฝังการเป็นเจ้าของกิจการ หรือทำงานในชุมชน